User Tools

Site Tools


introduction:lazaruside

Differences

This shows you the differences between two versions of the page.

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
introduction:lazaruside [2018/12/24 11:35]
admin [การเริ่ม Project]
introduction:lazaruside [2019/01/04 12:18] (current)
admin [มารู้จักส่วนต่างๆใน IDE]
Line 17: Line 17:
 การติดตั้งโปรแกรม Lazarus IDE ไม่ยากครับ เข้าไปโหลดโปรแกรมจากเวปไซต์หลัก จากนั้นกดรันไฟล์ติดตั้ง เพื่อทำการ Install ได้เลย ตัวโปรแกรมจะมีทั้งแบบ 32 บิท และแบบ 64 บิท เลือกให้ตรงตามระบบปฏิบัติการได้เลย การติดตั้งโปรแกรม Lazarus IDE ไม่ยากครับ เข้าไปโหลดโปรแกรมจากเวปไซต์หลัก จากนั้นกดรันไฟล์ติดตั้ง เพื่อทำการ Install ได้เลย ตัวโปรแกรมจะมีทั้งแบบ 32 บิท และแบบ 64 บิท เลือกให้ตรงตามระบบปฏิบัติการได้เลย
 ---- ----
-=====เริ่มต้นใช้งาน=====+======เริ่มต้นใช้งาน======
 การใช้งาน Lazarus IDE มีหลายสิ่งที่ควรรู้ดังนี้ การใช้งาน Lazarus IDE มีหลายสิ่งที่ควรรู้ดังนี้
-====การเริ่ม Project==== +=====การเริ่ม Project===== 
-ปกติเมื่อเราเข้าโปรแกรมมาครั้งแรก ​หลักๆจะปรากฎ Text Editor พร้อมกับ Form เปล่าๆมาคู่กัน สิ่งนี้เราเรียกว่าเป็น Project สำหรับการสร้าง Form-based Application ครับ อย่างไรก็ตาม หากเราต้องการสร้าง Project ใหม่ในรูปแบบอื่นๆ ก็ทำได้โดยการเลือกเมนู ​+ปกติเมื่อเราเข้าโปรแกรมมาครั้งแรก จะปรากฎ Text Editor พร้อมกับ Form เปล่าๆมาคู่กัน สิ่งนี้เราเรียกว่าเป็น Project สำหรับการสร้าง ​Graphic User Interface (GUI) Application หรือ เรียกอีกอย่างว่า ​Form-based Application ครับ ​ซึ่งเป็น Default Project ของ Lazarus IDE อย่างไรก็ตาม หากเราต้องการสร้าง Project ใหม่ในรูปแบบอื่นๆ ก็ทำได้โดยการเลือกเมนู  
 + 
 +  Project >> New Project ... 
 +   
 +จะปรากฎหน้าต่าดังรูปข้างล่างขึ้นมาครับ ​  
 + 
 +{{introduction:​new_project2.png}} 
 + 
 +\\ 
 +จากภาพ ในนี้มี Project ที่เราจะอาจได้ใช้บ่อยจริงๆไม่กี่ตัวครับ อาทิ เช่น Application,​ Simple Program, Program และ Library สำหรับรายละเอียดของแต่ละตัว มีดังนี้ 
 + 
 +^  Project ​ ^  Descriptions ​ ^  
 +|Application| คือ การสร้าง GUI Application หรือ Form-based Application นั่นเอง โดยปกติเมื่อเรากดเข้าโปรแกรมมาในตอนแรก Lazarus IDE จะสร้าง Application ตัวนี้ไว้ให้เราเรียบร้อยแล้ว| 
 +|Simple Program|คือ การสร้าง Console Application (หน้าจอมืดๆเหมือน Dos) แบบเรียบง่าย คือ ไม่มีการใส่ unit หรือ Compiler Directive ใดๆมาให้เราเลยในตอนเริ่มต้น\\ \\ อย่างไรก็ตาม การสร้าง Project แบบนี้มีข้อดี คือ เหมาะสำหรับการเขียนโปรแกรมเพื่อทดลองงานเล็กๆ หรือเขียนเพื่อเรียนรู้ตาม Tutorial| 
 +|Program|คือ การสร้าง Console Application คล้ายกับ Simple Program แต่มีการใส่ unit ที่จำเป็นบางตัวมาให้ในตอนเริ่มต้น | 
 +|Library|คือ การสร้าง Shared Library| 
 + 
 +\\ 
 +**หมายเหตุ** เราสามารถสร้าง Project ใหม่ได้อีกวิธีหนึ่ง นั่นคือการเลือกเมนู ​
  
   File >> New ...    File >> New ... 
Line 28: Line 46:
 {{introduction:​new_project.png}} {{introduction:​new_project.png}}
  
-จากภาพ เราสามารถเลือก Template ​สำหรับสร้าง Project ใหม่ได้ สำหรับ Template ที่เราจะอาจไใช้บ่อริงๆ ​มีไม่ี่ตัวับ รายละเอียดของแต่ละตัว มีดังนี้+สำหรับการสร้าง Project ให้เราดนกลุ่ม่อ ​Project ครับ ​มีให้เลือกคล้ายกันกับกาสร้างแบบ New Project ...
  
-^  Template ​ ^  Descriptions ​ ^  +---- 
-|Application| คือ ​การสร้าง ​Form-based Application ​นั่เอง ​โดยปกติเมื่อเากดเข้าโปกรมมาในนแรก ​Lazarus IDE จะสร้าง ​Application ​วนี้ไว้้เราเรีบร้ยแล้ว แอนีการใส่ ​Compiler Directive เป็น {$mode objfpcาให้เรียบ้อย ​พือให้ ​compiler ​ทำานในโหด Object Pascal| +=====การเพิ่ม Unit/​Form===== 
-|Simple Program|อ การสร้ง Console Application (หน้าจอหมือน Dosแบบเรียง่าย ​คือ ไม่มีการใส่ ​unit หรือ Compiler ​DIrective ​ใดมาให้เราเลยในตริ่้น ​\\ \\ สำรับ Compiler ​ในโหมดนี้ จะทำงาน fpc ือ ​Pascal ปติท่านั้น ​แต่เราามารถเปลี่ยนโหมด ​Object Pascal ได้โดยการเพม Compiler Directive ด้วยโค๊ด {$mode objfpcเข้าไปื่อให้กลเปน Object Pascal \\ \\ ่างไรก็ตาม ​การสร้าง Project แบบี คือ เหมาะสำหรับรเขียโปรแกรมเพื่อทดลองงานเล็ๆ หรือเียนเพื่อเรีรู้าม ​Tutorial| + 
-|Program|คือ ​การสร้าง ​Console ​Application ​คล้ายกับ ​Simple Program ​ีการใส่ unit ที่จำเป็นใชาใอนเริ่มต้น ​เช่น classes ​สำหรับการเียน ​class ทั่วป นอกจากนี้ ​จะสังเกตว่ามการ Pre-define compiler mode เป็น ​objfpc มให้เรียบ้อยคล้ายๆกับการเลือกสราง ​Template: Application| +จากภาพข้างน หลงจากที่เราเลืกเมนู File >> New ... จะสักตว่า ​ี Object อื่นให้สร้างนหนือจาก ​Project ​้วยช่นกัน ให้เรานมดูในส่วนของ Module คับ ส่วนนี้คือเพิ่ม object เข้ามาใน ​Project ขงเาครับ ซึ่งหลัๆที่ใช้บ่อยก็คือพวก unit หือ Form เป็นตน อย่างไรก็าม เราสามารถเพิ่ม Unit หรือ Form ได้โดยิธีที่ง่ายกว่านี้เพียงแค่้เมนู 
-|Library|คือ การร้ง Shared Library|+ 
 +  File >> New Unit 
 +  File >> New Form 
 +\\ 
 +---- 
 +=====กาตั้งค่าเบื้องต้น===== 
 +กาตั้งค่า มี 2 แบ คือ ตั้งค่าพื้นฐานสำหับใชงาน IDE กับตั้งค่าเฉพาะสำหรับ Project นั้นๆ 
 +\\ \\ 
 +การตั้งค่า IDE ทำได้โดการเลือกเมนู 
 + 
 +  Tools >> Options ... 
 +   
 +ปกติแล้ว ​ผมจะตั้งค่าเกี่ยวกับพวก Syntax Highlighter ​เฉพาะตอนเริ่มต้นใช้งนคั้งแรกครับ หลังจากนั้น ก็แทบไม่ได้มายุ่งส่นี้อีกเลย 
 + 
 +{{introduction:​tools_options.png}
 + 
 +\\ 
 +สำหรับกรตั้งค่า Project ​ให้เลือกเมนู 
 + 
 +  Project >> Project Options ... 
 + 
 +{{introduction:​project_options.png}} 
 +   
 +ทุกคั้งท่เิ่ม Project ที่ป็น Application ซึงเป็นการสร้าง GUI Application ​รือ Form-based Application ขึนมานั้น สิ่งี่สคัญมกๆก่อการเริ่มช้งาน จะเข้ามาตั้ง่าในนี้เสมครับ ซึ่งการตั้งค่า Project ที่ผมทำเป็นประจำทุกครั้ง ​สรุปไดดันี้ครับ 
 +  * ในส่วนของ Project Option ​หน้า ​Application ตรง DPI Awareness ​ือก "On (True)" ตรงนี้สำคัญสำหรับ GUI Application ​าะระบปฎิบัติกรสมัใหม่ มักจะทำการ scale up/down หน้าจอ กับโปรแกรมให้เข้ากัน ถ้าไม่มีในส่วนนี้ GUI Application ของเราจะเบลอครับ และจะต้องไปปรับในการใช้งานอีกที  
 +  * ในส่วนขง Compiler ​Option หน้า Path ห้กด 2 ปุ่มภาพข้างล่าง จากนั้นให้กดปุ่ม OK 
 + 
 +{{introduction:​build_mode_click.png}} \\ 
 + 
 +  * เมื่อเราออกมาข้างนอก ​เลเมนูที่อยู่ดนหน้าปุ่ม Run (สีเขียว) จะพว่าจะมีโหมดในการ Run (Compile) มาให้เลือกภึง 3 โหมด ​คือ Default, Debug และ Release เหตุผลที่ต้องทำแบบนี้เนื่องจากการใช้งานทั่วไป Compiler ​จะรันโหมด Default ซึ่งทำให้ไฟล์ .exe ที่ได้ั้ญ่มากเนงจาก Compiler ได้ก็บข้อมูลกร Debug ไว้ในไฟล์ด้วย ดังนั้นในกรณีที่เราไม่ต้องกรดูข้อูลการ ​Debug แะต้องการไฟล์ที่เกลง ควรเลือกโหมด ​Release ในการ ​Run แทนเพื่อช่วยประหยัพื้นที่ 
 + 
 +{{introduction:​3_build_mode.png}
 + 
 +---- 
 +=====มารูจักส่วนต่งๆใน IDE===== 
 +แรกริ่มเมื่อเราเปิดโปรแกรมขึ้มา จะเจหน้าต่างแบบนี้ 
 +{{introduction:​lazarus_gui_window2_1.png}} 
 + 
 +ซึ่งก็คือการสร้าง Project แบบ ​Application หรือ ท่เป็น GUI Application นั่นเอง ผมขอใช้ภาพน้ในการธิบยส่วนปรกอบต่างๆที่จำเป็นสำหรับใช้งาน ​IDE ละันคับ \\ 
 + 
 +===1. LCL Components=== 
 +LCL ย่อมาจาก Lazarus Component Library ซึ่งค้ายกับ Visual Component Library (VCL) ของ ​Delphi นั่นเอง อีทั้งการตั้งชื่อ ​หรือการียกใช้งาน property, function และ procedure ของ LCL ยังถูกออกแบบให้คล้ายคลึงกับ VCL เพื่อความง่าสำหับผู้ที่เคยใช้งน Delphi ​าแล้ว\\ ​ 
 + 
 +LCL Components จะถูกใช้สำหรับการสร้าง ​GUI Application ​ในส่วนของการใชงานถือว่าง่ายมาครับ ​สามารถทำการ click ที่รูปภาพล้ว ไป click ที่ Form ท่เราต้องการได้เลย เพียงแคนี้ Component ​ที่เราเลือก ​ะถูกนไปแปะไว้บน Form นั้น \\  
 + 
 +LCL Components มีทั้งแบบ Visual ที่แสดงผลเป็นรูปร่างบน Form และ Non-visual ที่ไม่แสดงบน Form ทั้งนีขึ้นอยู่กับกงาง Component ​้นๆ สำหรับรายละียดการใช้งาแตละ ​ Component จะกล่าถึงใน Standard Controls \\ 
 + 
 +===2. Object Inspector=== 
 +ส่วนที่ำเป็นมากสำหรับ GUI Application โดยหน้าต่างนี้ทำให้เราามารถเข้าถึงและปรบแต่ง Property ​่างๆของ LCL Component ได้ ไม่ว่าจะเป็น ความกว้ง ความสูง ชื่อ ​เป็นต้น นอกจกนียังสามารถข้าไปส้าง Event สำหรับ LCL Component ดังกล่าวได้อกด้ว\\  
 + 
 +===3. Form=== 
 +คือ ส่วนที่ใช้ออกแบหนาตาขง Form สำหรับ GUI Application โดเราจะนำ LCL Component ทังหลาย ​มาวางในตำแหน่งต่างจนเิดเป็นหน้ตาโปแกรมขึ้นมา \\   
 + 
 +===4. Source Editor=== 
 +ือ ​ส่วนที่เป็น Text Editor สำหรับ Project ทุๆ Project \\ 
 + 
 +===5. Massage=== 
 +คือ ​่วนที่ราานการ Compile ว่ามี Error หรือ ​ำเตือนอะไรบ้าง ได้ผลการ ​Compile เป็นเช่นไร จะถูกระบุในส่วนนี้ทั้งหมด \\
  
-====กตั้งคงต้น====+__**หมยเหุ**__ - สำหรบ Project อืนๆที่ไม่ใช่ GUI Application ​ช่น Simple Program หรือ ​Program เราก็จะไม่ไดใช้งาในส่วนมที่ 1, 2 และ 3
introduction/lazaruside.1545626116.txt.gz · Last modified: 2018/12/24 11:35 by admin