User Tools

Site Tools


tutorial:class

Differences

This shows you the differences between two versions of the page.

Link to this comparison view

Both sides previous revision Previous revision
Next revision
Previous revision
tutorial:class [2019/01/28 09:16]
admin
tutorial:class [2019/01/29 08:24] (current)
admin
Line 1: Line 1:
 ======Class====== ======Class======
-คือ Structural Type ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีทั้ง Field, Method และ Property เหมือนกับ Object แต่มีรายละเอียดที่ซับซ้อนมากกว่า ​ปัจุบัน Class ถูกใช้อย่างแพร่หลายภายใต้การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) เพราะความสามารถที่มีมากกว่า Object ​\\+คือ Structural Type ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีทั้ง Field, Method และ Property เหมือนกับ Object แต่มีรายละเอียดที่ซับซ้อนมากกว่า \\
  
-คำว่า Class จริงๆแล้วนั้น หมายถึง ต้นแบบ ซึ่งหาจะนำไปใช้จริงๆ ต้องสร้างตัวผลิตภัณท์ของ Class นั้นขึ้นมา ในี่นี้ เราเรียกว่า Instance \\+คำว่า Class จริงๆแล้วนั้น หมายถึง ต้นแบบ ซึ่งในารนำไปใช้งานจริงนั้น ​ำเป็นต้องสร้างตัวผลิตภัณท์ของ Class นั้นขึ้นมาอีกที ​ในี่นี้ เราเรียกว่า Instance \\
  
 เพื่อให้เห็นภาพ ขอยกตัวอย่างเรื่องการสร้างรถยนต์ Class ในที่นี้ เปรียบเสมือน"​พิมพ์เขียว"​ของรถยนต์ ส่วน Instance คือ รถยนต์จริงๆที่ถูกผลิตขึ้นโดยใช้พิมพ์เขียวดังกล่าว ซึ่งแน่นอนว่ารถยนต์เหล่านี้ ย่อมมีคุณสมบัติแตกต่างกัน เช่น สีรถ เครื่องยนต์ หรืออุปกรณ์มาตรฐานต่างๆ เป็นต้น \\ เพื่อให้เห็นภาพ ขอยกตัวอย่างเรื่องการสร้างรถยนต์ Class ในที่นี้ เปรียบเสมือน"​พิมพ์เขียว"​ของรถยนต์ ส่วน Instance คือ รถยนต์จริงๆที่ถูกผลิตขึ้นโดยใช้พิมพ์เขียวดังกล่าว ซึ่งแน่นอนว่ารถยนต์เหล่านี้ ย่อมมีคุณสมบัติแตกต่างกัน เช่น สีรถ เครื่องยนต์ หรืออุปกรณ์มาตรฐานต่างๆ เป็นต้น \\
 +
 +หากลองสังเกต Component ต่างๆที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมสมัยนี้ รวมไปถึง Control ต่างๆที่ใช้ใน GUI Application (เช่น LCL เป็นต้น) ล้วนแล้วแต่ถูกเขียนขึ้นมาจาก Class ทั้งนั้น จะเห็นได้ชัดว่า Class ถูกใช้อย่างแพร่หลายภายใต้การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) เพราะความสามารถที่มีเพิ่มมากขึ้น และมีความยืดหยุ่นมากกว่า Object\\
  
 สิ่งที่แตกต่างระหว่าง Class กับ Object มีดังนี้ สิ่งที่แตกต่างระหว่าง Class กับ Object มีดังนี้
   *Object ใช้หน่วยความจำแบบ Stack ส่วน Class ใช้หน่วยความจำแบบ Heave นั่นทำให้ทุกครั้งที่มีการสร้าง Instance จาก Class ขึ้นมาใช้งาน จำเป็นต้องมีการกำจัด Instance เมื่อใช้งานเสร็จเสมอ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา Memory Leak   *Object ใช้หน่วยความจำแบบ Stack ส่วน Class ใช้หน่วยความจำแบบ Heave นั่นทำให้ทุกครั้งที่มีการสร้าง Instance จาก Class ขึ้นมาใช้งาน จำเป็นต้องมีการกำจัด Instance เมื่อใช้งานเสร็จเสมอ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา Memory Leak
   *Class จำเป็นต้องมี Constructor และ Destructor เสมอ ซึ่งสองตัวนี้ คือ Procedure พิเศษ มีไว้สำหรับสร้างและทำลาย Instance ตามลำดับ ในขณะที่ Object ไม่จำเป็นต้องมี   *Class จำเป็นต้องมี Constructor และ Destructor เสมอ ซึ่งสองตัวนี้ คือ Procedure พิเศษ มีไว้สำหรับสร้างและทำลาย Instance ตามลำดับ ในขณะที่ Object ไม่จำเป็นต้องมี
-  *Object ใช้การอ้างอิงตัวแปรแบบ Value ส่วน Class ใช้การอ้างอิงตัวแปร ​สาเหตุที่เป็นแบบนี้ ให้ดูหัวข้อถัดไปแบบ Reference เพื่อให้เห็นภาพ ขอยกตัวอย่าง หากให้ A,B เป็น Object เมื่อใช้คำสั่ง B:=A ; จะหมายถึง มี B เกิดขึ้นมาอีกหนึ่งตัวซึ่งเกิดจากการคัดลอก A ผลก็คือหากเราทำอะไรกับ B ก็จะไม่ส่งผลกับ A เพราะเป็นคนละตัวกัน แต่หากเราให้ A,B เป็น Instance ของ Class เมื่อใช้คำสั่ง B:=A ; จะกลายเป็นว่า B อ้างอิงไปที่ A ไม่ได้เกิดการคัดลอกใดๆ ทีนี้หากเราทำการเปลี่ยนแปลง B จะหมายถึงการเปลี่ยนแปลง A ด้วยเช่นกัน +  *Object ใช้การอ้างอิงตัวแปรแบบ Value ส่วน Class ใช้การอ้างอิงตัวแปรแบบ Reference เพื่อให้เห็นภาพ ขอยกตัวอย่าง หากให้ A,B เป็น Object เมื่อใช้คำสั่ง B:=A ; จะหมายถึง มี B เกิดขึ้นมาอีกหนึ่งตัวซึ่งเกิดจากการคัดลอก A ผลก็คือหากเราทำอะไรกับ B ก็จะไม่ส่งผลกับ A เพราะเป็นคนละตัวกัน แต่หากเราให้ A,B เป็น Instance ของ Class เมื่อใช้คำสั่ง B:=A ; จะกลายเป็นว่า B อ้างอิงไปที่ A ไม่ได้เกิดการคัดลอกใดๆ ทีนี้หากเราทำการเปลี่ยนแปลง B จะหมายถึงการเปลี่ยนแปลง A ด้วยเช่นกัน 
-  *Class มี Access Modifier มากกว่า Object ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้+  *Class มี Access Modifier ​เพิ่มขึ้นมาก Object ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
  
 ^  Access Modifier ​ ^  Descriptions ​ ^  ^  Access Modifier ​ ^  Descriptions ​ ^ 
Line 16: Line 18:
 |protect| มองเห็นได้เฉพาะ Derived-Class (Class ที่สืบทอด) เท่านั้น | |protect| มองเห็นได้เฉพาะ Derived-Class (Class ที่สืบทอด) เท่านั้น |
 |public| มองเห็นได้จากทุกที่ที่ uses Unit นี้ | |public| มองเห็นได้จากทุกที่ที่ uses Unit นี้ |
-|published| เหมือนกันกับ Public แต่จะสร้าง Run Time Type Information (RTTI) ขึ้นมา เพื่อประโยชน์ในการ Streaming ข้อมูล | +|published| เหมือนกันกับ Public แต่จะสร้าง Run Time Type Information (RTTI) ขึ้นมา เพื่อประโยชน์ในการ Streaming ข้อมูล | 
 +|ไม่ระบุ| หมายถึง public |   
 + 
 +\\ 
 +---- 
 +=====การสร้าง Class===== 
 +การสร้าง Class อย่างง่าย มีรูปแบบดังนี้ 
 + 
 +  Type 
 +   ​TMyClass = class 
 +     ​{Field,​ Method, Property...} ​  
 +   ​end;​ 
 + 
 +การสร้าง Class สืบทอดจาก Class อื่น มีรูปแบบดังนี้ () 
 + 
 +  Type 
 +   ​TMyClass = class(TObject) 
 +     ​{Field,​ Method, Property...} ​    
 +   ​end;​ 
 + 
 +__**หมายเหตุ**__ - ในการสร้าง Class ทุกๆครั้งที่ไม่ได้ระบุว่าสืบทอดมาจาก Class ใด จะเป็นการสร้าง Class สืบทอดจาก TObject ซึ่งเป็น Class พื้นฐานของ FPC เสมอ \\  
 + 
 +ตัวอย่างการสร้าง Class แบบละเอียด 
 +<sxh delphi;>​ 
 +Type 
 +  TMyClass = class(TObject) 
 +   ​private 
 +     ​FName:​string;​ 
 +     ​FValue:​integer; ​      
 +   ​protected 
 +     ​function GetIsOK:​boolean;​ 
 +   ​public 
 +     ​constructor create; 
 +     ​destructor destroy; override; 
 +     ​procedure DoSomeThing; ​         
 +   ​published 
 +     ​property Name:string read FName write FName; 
 +     ​property Value:​integer read FValue write FValue default 0;  
 +     ​property IsOK:​boolean read GetIsOK;  
 +   ​end;​ 
 +</​sxh>​ 
 +\\ 
 + 
 +---- 
 +=====Property===== 
 +คือ คุณสมบัติของ Class (หรือ Object) เช่น ความยาว ความกว้าง ตำแหน่ง เป็นต้น โครงสร้างของ property นั้นประกอบไปด้วย Getter (คำสั่งหลัง read) และ Setter (คำสั่งหลัง write)\\ \\ 
 +เพื่อเป็นการอธิบายให้เห็นภาพ จะขอยกตัวอย่าง 
 + 
 +  property ValueX:​integer read GetValueX write SetValueX;​ 
 + 
 +จากตัวอย่างดังกล่าว Getter คือ GetValueX ส่วน Setter คือ SetValueX \\ 
 +Getter จะถูกเรียกใช้งาน เมื่อมีการเรียกใช้ค่าของ Property ดังเช่น 
 + 
 +  writeln(ValueX);​ 
 +   
 +Setter จะถูกเรียกใช้งาน เมื่อมีการใส่ค่าให้ Property เช่น 
 + 
 +  ValueX:​=12;​ 
 +   
 +ทำไมต้องมี Getter Setter ให้ยุ่งยาก แทนที่จะใช้ var หรือ Field อย่างเดียว?​ ประโยชน์ของการใช้งาน Property มีดังนี้ครับ 
 +  *ใช้คัดกรองตัวแปร บางครั้งเรารับค่าเพื่อการคำนวณในช่วง 0-100 เท่านั้น หากผู้ใช้ใส่ค่าเกินกว่าค่าดังกล่าวมา จะสามารถคัดกรองให้เป็นค่าที่อยู่ในช่วง 0-100 แทนได้ 
 +  *เพื่อให้ค่าของ Property ได้มีการ update ตลอดเวลา โดยเฉพาะหาก property ของเรา ขึ้นอยู่กับค่าอื่น เมื่อใดที่มีการเปลี่ยนค่า ก็จะมีการ update ค่า property เราด้วยเสมอ 
 + 
 + 
 +รูปแบบการเขียน Property มีหลักๆดังนี้ 
 +  *Property ที่มี Getter, Setter เป็น Field 
 + 
 +  property Value:​integer read FValue write FValue; 
 + 
 +  *property ที่มี Getter, Setter เป็น Procedure/​Function ซึ่งโดยปกติ Getter จะเป็น Function ส่วน Setter จะเป็น Procedure 
 + 
 +  property ValueX:​integer read GetValueX write SetValueX;​ 
 +  function GetValueX:​integer;​ 
 +  procedure SetValueX(Value:​integer);​
  
 +  *Property ที่แสดงค่าได้อย่างเดียว (ReadOnly)
  
 +  property IsOK:​boolean read GetIsOK;
tutorial/class.1548641811.txt.gz · Last modified: 2019/01/28 09:16 by admin